ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ: ความรู้ฉบับพกพา ของ พอล
วิลคินสัน ศาสตราจารย์ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแห่งมหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูว์ส
ฉายภาพตัวแสดงหลักบนเวทีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตั้งแต่รัฐต่างๆ ทั้งที่เป็น
วันจันทร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2558
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนเป็นหลักทางศีลธรรมแจกแจงมาตรฐานบางอย่างของพฤติกรรมมนุษย์
และได้รับการคุ้มครองเป็นสิทธิตามกฎหมายเป็นปกติในกฎหมายระดับชาติและนานาชาติ
สิทธิเหล่านี้ "เข้าใจทั่วไปว่าเป็นสิทธิมูลฐานอันไม่โอนให้กันได้ซึ่งบุคค
อ่านเพิ่มเติม
กฎหมาย
กฎหมาย เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม
ในทุกที่ที่เป็นไปได้[1]กฎหมายก่อร่างการเมือง
เศรษฐศาสตร์และสังคมในหลายวิถีทาง
และใช้เป็นสื่อกลางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางสังคมกฎหมายสัญญาวางระเบียบทุกอย่างตั้งแต่การซื้อตั๋วรถ อ่านเพิ่มเติม
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปนประมุข
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (อังกฤษ: democratic form of government with the King
as Head of State[1])
เป็นชื่อเรียกระบอบการปกครองในประเทศไทย ที่รวมเอาทั้งรูปแบบการปกครอง (form of government) ประเภทประชาธิปไตยโดยมีรัฐสภา อ่านเพิ่มเติม
พลเมืองดี
เราจะช่วยได้อย่างไรในชุมชนของเรา
เราทำอะไรเพื่อทำให้ประเทศเราน่าอยู่มากขึ้น ความเป็นพลเมืองดีสามารถทำได้ง่ายๆ
เช่นศึกษาประเด็นการเมืองเพื่อเราจะเป็นผู้ลงคะแนนเสียงที่รอบรู้
หรือจัดกลุ่มนักกีฬาฟุตบอลเพื่อให้เด็กในละแวกบ้านมีเรื่องสนุกๆ และปลอดภัย อ่านเพิ่มเติม
วัฒนธรรม
วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง
รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ
วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น
ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย
และ ความเหมาะสม อ่านเพิ่มเติม
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการทางสังคม
อาจกล่าวได้ว่า
สภาพภูมิศาสตร์มีอิทธิพลต่อการตั้งหมู่บ้านทางภาคกลางไม่น้อยกว่าทุกภาคดังที่กล่าวมาแล้ว
ในงานวิจัยของฉัตรทิพย์ นาถสุภา เรื่องวัฒนธรรมหมู่บ้านไทย
ฉัตรทิพย์แบ่งลักษณะที่ตั้งหมู่บ้านทางภาคกลางไว้ เป็น 3 ลักษณะคือ อ่านเพื่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)